• All
  • การเงิน
  • ข่าว
  • บทความ
  • บริการ
  • อีเวนท์

23 August 2024

หน้าหลัก เช่า บริการ ผลงาน บทความ ติดต่อเรา หน้าหลัก เช่า บริการ ผลงาน บทความ ติดต่อเรา [gtranslate] การดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ 1. ทุก 6 เดือน: สำหรับการใช้งานแอร์ทั่วไปในบ้านพักอาศัย ถ้าไม่ได้ใช้งานอย่างหนัก การล้างแอร์ปีละ 2 ครั้งก็เพียงพอ ช่วยลดการสะสมของฝุ่นละอองและเชื้อโรค 2. ทุก 3 เดือน: หากใช้แอร์บ่อยหรือใช้งานต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่นในสำนักงาน ร้านค้า หรือพื้นที่ที่ต้องการความเย็นตลอดทั้งวัน ควรล้างแอร์ทุกๆ 3 เดือนเพื่อรักษาประสิทธิภาพและความสะอาด 3. ทุก 1-2 เดือน: สำหรับสถานที่ที่มีฝุ่นเยอะ หรือในครอบครัวที่มีเด็กเล็ก คนที่เป็นภูมิแพ้ หรือสัตว์เลี้ยง ควรล้างแอร์บ่อยขึ้น เช่น ทุกๆ 1-2 เดือน เพื่อลดการสะสมของฝุ่นและสารก่อภูมิแพ้ 4. สัญญาณที่แสดงว่าแอร์ควรล้าง: แอร์เย็นน้อยลงหรือไม่ค่อยเย็นเหมือนเดิมมีกลิ่นอับหรือกลิ่นไม่พึงประสงค์ออกมาจากแอร์แอร์มีเสียงดังผิดปกติมีน้ำหยดหรือน้ำรั่วจากเครื่องปรับอากาศการล้างแอร์เป็นการดูแลรักษาที่ช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่องปรับอากาศ ลดค่าไฟฟ้า และรักษาสุขภาพของผู้อยู่อาศัย ดังนั้น ควรตั้งเวลาและทำความสะอาดแอร์ตามความถี่ที่เหมาะสมเพื่อให้แอร์ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ การดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศ อย่างสม่ำเสมอไม่เพียงแต่ช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่อง แต่ยังช่วยให้แอร์ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงาน และช่วยให้คุณมีอากาศที่สะอาดสดชื่นในบ้านหรือที่ทำงาน นี่คือวิธีการดูแลรักษาเครื่องปรับอากาศที่ควรปฏิบัติ: 1. ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศเป็นประจำแผ่นกรองอากาศ ควรถอดออกมาทำความสะอาดทุกๆ 1-2 สัปดาห์ หรือเดือนละครั้งสำหรับการใช้งานทั่วไปใช้แปรงขนนุ่มหรือผ้าเปียกเช็ดทำความสะอาดฝุ่นที่สะสม...

23 August 2024

หน้าหลัก เช่า บริการ ผลงาน บทความ ติดต่อเรา หน้าหลัก เช่า บริการ ผลงาน บทความ ติดต่อเรา [gtranslate]   1. สัญญาเช่าการเซ็นสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรจึงถือว่าเป็นหลักฐานสำคัญในการใช้บังคับคดี ในกรณีที่ผู้เช่าและผู้ให้เช่ามีปัญหาที่ต้องขึ้นโรงขึ้นศาลกัน   2. หาคนเช่าด้วยการ หาเอง ติดต่อนายหน้า หรือนิติบุคคลในปัจจุบัน การหาผู้เช่า มีหลักๆด้วยกัน 3 วิธี คือ หาด้วยตัวเอง นายหน้า และ นิติบุคคล   3. ทำ list และถ่ายรูปห้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดปัญหาของหาย หรือได้คืนไม่ครบ จึงมีความจำเป็นที่ต้องเขียนสิ่งเหล่านี้ลงไปในสัญญาให้ชัดเจน โดยเขียนรายการแนบท้ายไว้กับตัวสัญญา เพื่อที่ตรวจสอบได้ในภายหลังว่า สภาพก่อนและหลังก่อนเช่านั้นแตกต่างกันอย่างไร   4. ของเสียใครต้องรับผิดชอบกำหนดกันให้ชัดเจนในสัญญาว่าใครรับผิดชอบอะไร และสาเหตุของการเสียหายเกิดจากใคร และถ่ายรูปสภาพห้องกันก่อนให้เรียบร้อย   5. เงินประกันการเช่าเป็นปกติของการเช่าที่ผู้ให้เช่ามักเรียกเก็บ “เงินประกันสัญญา” หรือ “เงินประกันการเช่า” จากคนเช่า (หรือบางทีก็เป็นในรูป “มัดจำ” คือจ่ายกันก่อนเริ่มเช่าเพื่อเป็นประกันว่าจะเช่าจริง) ซึ่งเงินนี้จะจ่ายล่วงหน้าให้ผู้ให้เช่าเก็บไว้ ส่วนใหญ่จะเท่ากับค่าเช่า 2-3 เดือน แล้วแต่เจรจา   6.เบี้ยปรับสำหรับคนผู้เช่าที่ชอบเบี้ยว หรือจ่ายไม่ตรงเวลา ผู้เช่าควรกำหนดวันถึงกำหนดชำระให้ชัดเจน ว่า ผู้ให้เช่ามีสิทธิเรียกค่าปรับได้...

อสังหา คอนโด เช่าคอนโด ซื้อคอนโด

12 July 2024

หน้าหลัก เช่า บริการ ผลงาน บทความ ติดต่อเรา หน้าหลัก เช่า บริการ ผลงาน บทความ ติดต่อเรา [gtranslate] กฏเข้มสคบ.ทุบซ้ำตลาดอสังหาฯ จองซื้อคอนโดอยู่ในข่ายควบคุมสัญญา กู้ไม่ผ่านคืนเงินจอง สมาคมอาคารชุดไทยร่อนหนังสือขอทบทวน ด้านสคบ.ย้ำเป็นเรื่องจำเป็น สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ได้เปิดรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ “การคุ้มครองผู้บริโภคและการกำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจด้านสัญญา ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522” พร้อมทั้งเปิดเผยร่างแบบสัญญามาตรฐานสัญญาจองซื้อห้องชุด และร่างประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่องให้ธุรกิจการขายห้องชุดที่มีการจองเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา ล่าสุด สมาคมอาคารชุดไทยได้ส่งจดหมายถึง สคบ. แสดงความไม่เห็นด้วยต่อร่างประกาศดังกล่าว โดยระบุว่ามีข้อกำหนดหลายประการที่เป็นภาระเกินสมควรต่อผู้ประกอบการ และอาจส่งผลกระทบในวงกว้างต่อภาพรวมธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศนายประเสริฐ แต่ดุลยสาธิต นายกสมาคมอาคารชุดไทย ได้ระบุในจดหมายว่า ร่างสัญญามาตรฐานที่เสนอมานั้นมีการควบคุมมากเกินไป ไม่สอดคล้องกับวิธีปฏิบัติในปัจจุบันของผู้ประกอบการ และอาจเปิดช่องว่างให้เกิดการเก็งกำไรได้ ตัวอย่างเช่น การกำหนดให้ระบุเลขที่สัญญาแบบเดิมที่ไม่สอดคล้องกับระบบปัจจุบัน การใช้คำว่า “หมายเลขห้องชุด” ในขณะที่ยังไม่มีการออกเลขที่ห้องชุดอย่างเป็นทางการ และการระบุรายละเอียดวัสดุอุปกรณ์ในสัญญาจองซื้อซึ่งควรเป็นเอกสารแนบท้ายสัญญาจะซื้อจะขายมากกว่า นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังแสดงความกังวลเกี่ยวกับการแจ้งกำหนดเวลาที่จะได้รับใบอนุญาตก่อสร้าง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของหน่วยงานราชการ และอาจทำให้ผู้ประกอบการผิดสัญญาโดยไม่ใช่ความผิดจากตนเอง รวมถึงการกำหนดให้เงินที่ผู้บริโภคชำระในสัญญาจองซื้อไม่ถือเป็นเงินมัดจำ ซึ่งอาจขัดกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 377 และประเด็นเรื่องการกำหนดราคาห้องชุดรวมภาษีมูลค่าเพิ่มก็เป็นอีกจุดที่สมาคมฯ เห็นว่าไม่ถูกต้อง เนื่องจากการซื้อขายห้องชุดไม่ได้อยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ทางสมาคมฯ ยังไม่เห็นด้วยกับการกำหนดให้ผู้ประกอบการต้องได้รับความยินยอมจากผู้บริโภคทุกครั้งที่มีการแก้ไขรายละเอียดโครงการ แม้จะเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย รวมถึงการกำหนดให้คืนเงินทั้งหมดพร้อมดอกเบี้ยเมื่อมีการบอกเลิกสัญญา ซึ่งอาจเปิดช่องให้มีการเก็งกำไรโดยไม่คำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่ผู้ประกอบการได้ดำเนินการไปแล้ว ขั้นตอนการบอกเลิกสัญญาที่ซับซ้อนและใช้เวลานานถึง 60 วัน แม้ผู้ประกอบการไม่ได้เป็นฝ่ายผิดสัญญาสมาคมอาคารชุดไทยได้เสนอให้มีการปรับปรุงร่างประกาศในหลายประเด็น เช่น การกำหนดคำนิยามที่ชัดเจนสำหรับ “การเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญ” ของโครงการ...

123
Next

Simplifying Property, Together.

ร่วมกันทำให้เรื่องอสังหาฯ ง่ายขึ้น

You have successfully subscribed to the newsletter

There was an error while trying to send your request. Please try again.

will use the information you provide on this form to be in touch with you and to provide updates and marketing.